วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2555

ซอฟแวร์

 ซอฟแวร์
  คือ การลำดับขั้นตอนของการทำงาน ของคำสั่งที่จะทำหน้าที่ส่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรม นำมารวมกันให้สามารถใช้งานครบถ้วน
                             หน้าที่ของซอฟแวร์
    ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
                             ประเภทของซอฟแวร์
  แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
 1) ซอฟแวร์ระบบ
 2) ซอฟแวร์ประยุกต์
 3) ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ
      1) ซอฟแวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับระบบ การทำงานคือ การดำงานพื้อนฐานต่างๆ
       ซอฟแวร์ระบบที่รู้จักกันดีก็คือ
DOS, Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง
                                หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ
1) ในการจัดการหน่วยรับข้อมูล และส่งออกเช่น รับรู้ การกดแป้นต่างๆ
2 )ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกันคือ นำเอาข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3) ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้มากขึ้น
                               ประเภทของซอฟแวร์ระบบ
    แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1) ระบบปฏิบัติการ
2 )ระบบแปลภาษา
         ระบบปฏิบัติการหรือที่เรียกว่า OS เป็นซอฟแวร์ในการดูแลระบบคอมพิเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะต้องมีซอฟแวรืระบบปฏิบัติการนี้ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากก็เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ วีนุกส์ และแม้กอินทอสเป็นต้น
        1) ระบบปฏิบัติการ
             1) ดอส เป็นซอฟแวร์ที่จัดการทำงานพัฒนามาแล้วการใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟแวร์ที่รู้จักกันดี ในหมู่ผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในอดีตปัจจุบันระบบปฏิบัติการ ดอส นั้นมีงานใช้งานน้อยมาก
             2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถส่งงานโดยเมาส์มาขึ้น แทนการแผงแป้นอักขระ เพียงอย่างเดียว
             3) ยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนา มาตั้งแต่ครั้งที่ใช้กับเครื่องมือมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด
             4) ลีนุกซ์ เป็นระบบที่ปฏิบัติการที่พัฒนาจากระบบยูนิกส์เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปีแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติ
                 ระบบลีนุกซ์สามารถทำงานได้บนซีพียู หลายตระกลูเช่น อินเทล ดิจิตอล และชันสปาร์ค
             5) แมคอินทอซ เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอซส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิกออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
                                     ชนิดของระบบปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1) ประเภทใช้งานเดี่ยว ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ ใช้งานได้ครั้งละ1งานเท่านั้น
2 )ประเภทใช้หลายงาน สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงาน
3) ประเภทใช้งานหลายคน ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ พร้อมกันหลายคนแต่ละคนจะมีสถานีของตนเอง เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องเป็นระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถ
      2) ตัวแปลภาษา
       การพัฒนาชอฟแวร์ ต้องอาศัยชอฟแวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระบบสูงเพื่อ แปลภาษาระดับสูง
                ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาชึ่งสร้างขึ้นเพืื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมชุดคำสั่งเข้าใจง่าย และเพื่อให้ปรับชอฟแวร์ในภายหลังได้ง่าย

วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555

โครงสร้างของเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์

                6/ส.ค/55
                                        โครงสร้างของเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของเครื่อข่าย
   - การทำงานของระบบ Network และ Internet
โครงสร้างของเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
1) เครื่อข่ายเฉพาะที่
   เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กร โดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN
2 )เครื่อข่ายเมือง MAN
  เป็นกลุ่มของเครือข่ายLANที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น
3 )เครื่อข่ายบริเวณกว้าง WAN
   เป็นเครื่อข่ายทีใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครื่อข่ายทั้งlan และMAN มาเชื่อมต่อเป็นเครื่อข่ายเดียว
                        รูปแบบโครงสร้างของเครื่อข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครื่อข่ายอันเป็นการจัดว่างของคอมพิวเตอร์
                                        รูปแบบโครงสร้างของเครื่อข่ายNetwork Topcioy 4แบบ
1 )แบบดาว
2 )แบบวงแหวน
3 )แบบบัส
4 )แบบต้นไม้
      1 )แบบดาว เป็นการต่อสายเื่ชื่อมโยง ของการนำสถานีต่างๆมาต่อรวมกันเป็นหน่วยต่างๆสลับสายกลาง
        - ลักษณะการทำงานแบบดาวเป็นการเชื่อมโยงการติดต่อ สื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉกโดยมีสถานีกลาง มีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทาง และการสือการทั้งหมด  นอกจากนี้สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางศูนย์จัดส่งข้อมูล
     2) แบบวงแหวน  เป็นแบบที่สถานีเครื่อข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญาณ ตัวก่อนหน้าและส่งข้อมูล
     3) เครื่อข่ายแบบบัส
เป็นเครื่อข่ายที่เื่ชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อยๆโดยจะมีอุปกรณ์ที่จะมีตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เข้ากับสายเคเบิ้ล
        ลักษณะการทำงานของเครื่อข่ายแบบบัส
อุปกรณ์ทุกขึ้น หรือทุกโขนด ทุกโหนดในเครื่อข่ายจะช่วยเชื่อมโยงเข้ากับสายสือสารหลักที่เรียกว่าบัส
    4 )แบบต้นไม้  เป็นเครื่อข่ายที่มีการผสมผสาน โครงสร้างเครื่อข่ายแบบต่างๆ เข้าด้วยกันเป็นขนาดใหญ่จะจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปได้ถึงทุกสถานี
                                   การประยุกต์ใช้งานของระบบเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบบการใช้งาน ของเครื่อข่ายระบบคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
  1 )ระบบเครื่อข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
             เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผลตั้งอยู่ในศูนย์กลาง และมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่อเทอมินนอลสามารถทำงานได้
  2 )ระบบเครื่อข่าย
             แต่ละสถานีงานระบบเครื่อข่ายจะมีความเท่าเทียมกัน สามารถที่จะแบ่งเป็นทรัพยากร ให้แก่กันและกันได้
)ระบบเครื่อข่ายแบบ Client /Sewer
       สามรถเชื่อต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่องServer ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลาง


       

ซอฟแวร์ประยุกต์


    ซอฟแวร์ประยุกต์
  2.2 ซอฟแวร์ประยุกต์
                ซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งฉาก หรือการออกแบบเว็บไซต์
                                       ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น2ประเภทคือ
1) ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ( Proprietory software)
2)ซอฟแวร์ที่หาชื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะและโปรแกรมมาตราฐาน
                             แบ่งตามกลุ่มการใช้งานจำแนกได้เป็น3กลุ่มใหญ่ๆดังนี้
1) กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ
2) กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิก และมิลติมิเดีย
3) กลุ่มการใช้งานบนเว็บ
           
                               กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในการทำงานมีประสิทธิภาพมากชึ้้้้นเช่น การจัดพิมพ์เอกสาร นำเสนองาน และการบัญทึกนัดหมายต่างๆ
                              กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมิเดีย
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการด้านงานกราฟิก และมัลติมิเดียเพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่นใช้ตกแต่งวาดภาพ ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหวและการออกแบบเว็บไชต์ ตัวอย่างเช่น
 -โปรแกรมการออกแบบงาน อาทิ Microsoft yisieso Pof
 - โปรแกรมการตกแต่งภาพ  อาทิ Coreldraw,Adobe
 - โปรแกรมติดต่อวิดีโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere,Pimnacle Studio DV
 -โปรแกรมสร้ารงมัลติมิเดีย อาทิ Adobe Authorware
 -โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash Adobe
                              กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสือสาร
              เมื่อเกิดการเติบโตของเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต ซอฟแวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นการตรวจสอบเช็คอีเมล การท่องเว็บไชต์การจัดการดูแลเว็บและการส่งข้อมูลติดต่อสือสาร การประชุมทางไกลผ่านเครื่อข่าย ตัวอย่างโปรแกรมกลุ่มนี้ได้แก่
- โปรแกรมจัดการE-mail  อาทิ Microsoft Outlook
-โปรแกรมเว็บ อาทิ Microsoft
- โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer
-โปรแกรมประชุมทางไกล Videc Conterence
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน อาทิ MSN ,ICQ
                              ความจำเป็นของการใช้ซอฟแวร์
        การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์ จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษรและเป็นประโยคข้อความ
                             ซอฟแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
                 เมื่อมนุษย์เราต้องการใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่าถูกต้อง จำเป็นต้องมีสือกลางถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้วเรามีภาษาใช้ในการติดต่อกันและกัน การปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อ เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
                           ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
            ภาษาเครื่อง
            เนื่องจากคอมพิวเตอร์ ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลย0และ1ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข0และ1 นี้เป็นรหัสแทนค่าสิ่งในการส่งงานคอมพิวเตอร์รหัสแทนข้อมูลและคำสังโดยใช้ระบบฐานนี้
            ภาษาแอสเซมบลี(Assembly languages)
             เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครื่องภาษาแอสเซมบลีช่ีวยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
            แต่อย่างไรก้อตามภาษาเเอสแซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาที่เรียกว่าเบเลอร์ที่แปลภาษาเอสแซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
            ภาษาระดับสูง เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่าStatememts ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น
            คอมไมเลอร์จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมที่เป็นภาษาก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษานั้น
            อินเทอร์พรีเตอร์ ทำการแปลที่ละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้นเมื่อทำเสร็จแล้วจึงทำการแปลคำสั่ง

หน่วยความจำสำรอง


       หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหรืหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอด
              หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลักคือ
1) ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูล
2)  ใช้ในการเก็บข้อมูลโปรแกรมอย่าถาวร
3 ) ใช้เป็นสือในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
                                           ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บไว้ในความจำหลักประเภทแรม หากเปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจทำให้ข้อมูลสูยหาย จึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลมาจากหน่วยคามจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในสือที่ใช้บัญทึกภายนอกเช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ซีดีรอม ดีวีดี
                                       ส่วนแสดงผลข้อมูล
  คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้อุปกรณ์ที่ใช้แสดงข้อมูลได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ภาพ และลำโพงเป็นต้น          
                                      บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
 หมายถึงคนที่มีความรู้ความสามารถ ในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น
อาจประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนรับผิดชอบ
                                     ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
  1) ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
  2 )ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
  3) ฝ่ายปฎิบัติงาน
                                   บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
  1) หัวหน้าฝ่ายงานคอมพิวเตอร์
  2 )หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และว่างแผนระบบงาน
  3) โปรแกรมเมอร์
  4 )ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
  5) พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
              -นักวิเคราะห์ระบบงาน
  ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
              - โปรแกรมเมอร์
  นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
              - วิศวกรระบบ
 ทำหน้าที่ออกแบบสร้าง ดุแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
              - พนักงานปฏิบัติการ
ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับภารกิจประจำวัน
                              แบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ได้เป็น 4 ระบบ
1) ผู้จัดระบบ
  คือผู้ว่างนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
2 )นักวิเคราะห์ระบบ
   คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์ระบบงาน
3) โปรแกรมเมอร์
   คือ ผู้เขียนโปรแกรมส่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4) ผู้ใช้
  คือ ผู้ที่ทำงานคอมพิวเตอร์ทั่วไป จึงต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งาน

                         

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

                                        การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
    การใช้ระบบสารสนเทศ เพื่อการค้นหาหรือดึงข้อมุลและสารสนเทศเฉพาะเรื่องที่ผู้ใช้ระบุแหล่งรวบรวม สารสนเทศไว้เป็นจำนวนมาก เพื่อประโยชน์ด้านต่างๆเช่นการศึกษาเป็นต้น
                             วัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
  1) เพื่อทราบถึงรายระเอียดข้อมูล
  2 )เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาหรือการทำงาน
  3 )เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้แกตนเองและผู้อื่น
  4 )เพื่อตรวจสอบข้อมูล
  5 )เพื่อการนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

                                             Search  Engine
  คือ เครื่่องมือหรือเว็บไซต์เพื่ออำนวยความสะดวก ในการเข้าถึงข้อมูล และข่าวสารให้แกผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากแหล่งข้อมุลเว็บไซต์ต่างๆ
                                      ประเภทของ Search  Engine
   1 )อินเด็กเซอร์ เป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่อยู่กระจายในอินเทอร์เน็ต ไม่มีลำดับขั้นของความสำคัญในการใช้งานจะเหมือนกับการสืบค้นข้อมูลของฐานข้อมูลอื่นๆ
   2 )ไดเร้กเทอรี่ การค้นหาข้อมุล มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยกว่าตัวแรกโดยข้อมูลต่างๆจะถูกคัดแยกออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดเก็บแบ่งแยกตามเว็บไซต์ต่างๆ
   3 )เมตะเสิรช์
                                        ประโยชน์
เพื่อค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้สะดวกรวดเร็ว และถูกต้อง
                                เทคนิคการสืบค้นข้อมูล
1) มีประเด็นให้แคบลง
2 )ให้คำที่ใกล้เคียง
3) การทำคำหลัก
4 )หลีกเลี่ยงการใช้ตังเลข
5 )ใช้เครื่องหมายบวกและลบช่วย
6 )หลีกเลี่ยงภาษาพูด
                                        การค้นหาโดยใช้ตรรกบูลีน
 -AND เป็นการเชื่อมคำเำพื่อจำกัดการสืบค้นให้ตนเองด้วยการวางANDไง้ระหว่างคำหรือการไม่ใส่ตัวเชื่อมใดๆ
 - OR เป็นการเชื่อมคำเพื่อบรรยายการค้นไปยังคำอื่นๆ ที่กำหนดหรือต้องการ
-NOT เป็นการเชื่อมคำเพื่อจำกัดการค้นให้แคบลง โดยแจงให้ระบบทราบว่าไม่ต้องการคำที่อยู่ตามหลัง
                                     ลำดับการค้นที่มีการใช้คำเชื่อม
  1) ระบบจะค้นคำที่อยู่ในวงเล็บก่อน
  2 )จากนั้นจะ ดำเนินคำที่อยู่หลังNOT
  3 )ไปหาคำที่อยู่ระหว่างAND ทั้งหมดรวมถึงคำที่อยู่ใกล้กันแต่ไม่มีANDเชื่อมกัน
  4 ) ขั้นตอนสุดท้ายจึงจะทำการค้นหาคำที่อยูาระหว่างORทั้งหมด

            คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ ทีี่ทำงานด้วยคำสั่งหรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมกันเป็นคำสั่งได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ คือ มีศักยภาพสูง ในการประมวลผลข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข รูปภาพ                                               
                                   ส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์   
   -คอมพิวเตอร์ฮาร์แวร์   หมายถึง ส่วนประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออก5ส่วน   
              - ส่วนที่1 หน่วยรับข้อมูลเข้ เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหนเาที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบเพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้แก่       
 - แป้นอักขระ       
 - แผ่นซีดี        
- ไมโครโพน 
             -ส่วนที่2 หน่วยประมวลผลกลาง      ทำหน้าทีกี่ยวกับการคำนวลทั้งทางตรรกะและคณิคศาสตร์ 
             -ส่วนที่3 หน่วยความจำ    หน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลที่เตรียมส่งไปโปรแกรมผลยังหน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพล์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
              -ส่วนที่4 หน่วยแสดงผล   ทำหน้าที่แสดงข้อมูล ที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวลแล้ว                            
              -ส่วนที่5 อุปกรณ์ตัวพ่วงต่างๆเข้ากันเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่นโมเด็ม แผนเชื่อมต่อวงจร                             
                                           ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์         
 1) มีความเร็วในการทำงานสูง       
  2) มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง     
  3) มีความถูกต้องแม่นยำ     
   4) สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งได้                              
                                             ระบบคอมพิวเตอร์    
          หมายถึง กรรมวิธีที่ระบบคอมพิวเตอร์ ทำการใดๆกับข้อมูล ให้อยู่ในระบบที่เป็นประโยชน์ ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุดเช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียน ราชฎร์ ระบบทะเบียนการค้า            การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์ จากหน่วยที่เกี่ยวข้อง                             
                                           องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์         
   ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถ ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพจะประกอบส่วนสำคัญ4ส่วนดังนี้ 
 (1) ฮาร์แวร์   คือ ตัวเครื่องหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่เราสามารถสัมผัส และจับต้องได้ ฮาร์แวร์ประกอบด้วย4ส่วนคือ  
 1. ส่วนประมวลผล  
 2. ส่วนความจำ 
 3. อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก  
 4. อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล         
                              ส่วนที่1 CPUCPU     เป็นอุปกรณ์ฮาร์แวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง  มีหน้าที่หน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานคอมพิวเตอร์ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูล โดยการเปรียบเทียบข้อมูลทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยการทำงานเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบให้เป็นข้อมูลที่สามารถใช้งานได้      
                              ส่วนที่2 หน่วยความจำ  
     1) หน่วยความจำหลัก
     2) หน่วยความจำสำรอง
     3) หน่วยเก็บข้อมูล 1.1 หน่วยความจำแรม RAM       เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้า เพื่อรักษาข้อมูลข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูล จะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน1.2 หน่วยความจำแบบ ROM       เป็นหน่วยความจำที่ใช้ในการเก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลหลักถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ย่อมใช้CDU อ่านข้อมูลหรือโปรแกรมไปใช้งานอย่างเดียว ไม่สามารถเขียนข้อมูลไปเก็บไว้ได้ ส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุมเราเรียกหน่วยความจำนี้ว่าหน่วยความจำแบบลบเลือน       (2) หน่วยความจำสำรอง             หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำหรับสำรอง หรือทำงานกับข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่เนื่องจากขนาดของแผ่นโปรแกรมมีจำกัด หน่วยความจำสำรองสามารถเก็บไว้ได้หลาบแบบ เช่น แผ่นบันทึก จานบันทึกแบบแข็ง แผ่นซีดีรอม  
             

วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ

 6 ส.ค.2555 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารสำหรับครู
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
             ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทส คือ ข่าวสารที่สำคัญเป็นระบบข่าวสารที่กำหนดขึ้น และจัดทำขึ้นในองค์กรต่างๆตามความต้องการของเจ้าของหรือผู้บริหารองค์กรนั้นๆ
- สารสนเทศคือความรู้ที่ได้จากการสึกษาค้นคว้าสารสนเทศ เป็นความรู้และข่าวสารที่สำคัญที่มีลักษณะพิเศษทั้งการได้มาและประโยชน์จากการนำไปใช้
         สารสนเทศมีความหมายตามที่ได้ให้คำจำกัดความใกล้เคียงกันดังนี้
                สารสนเทศหมายถึง ข้อมุลทางคุณภาพด้านปริมาณการจัดหมวดหมู่เปรียบเทียบและวิเคราะห์และนำมาใช้ได้
                                              องค์ประกอบหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วย2ส่วนคือ
(1) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
          จัดเป็นเทคโนโลยีหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบันเนื่องจากคอมพิวเตอรืมีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งด้านการบันทึกและจัดเก็บมีส่วนประกอบสำคัญ2ส่วนคือ
1) ฮาดร์แวร์ คือสิ่งที่เรามองเห็น
2) ซอฟแวร์ คือ โปรแกรมต่างๆ
           เทคโนโลยีฮาดร์แวร์ หมายถึง อุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบขึ้น เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ต่อเชื่อมจำแนกการทำงานมี4ส่วน คือ
     1) หน่วยรับข้อมูล
     2 )หน่วยประมวลผลกลาง
     3 )หน่วยแสดงผลข้อมูล
     4 )หน่วยความจำสำรอง
(2 ) เทคโนโลยีซอฟแวร์
       คือโปรแกรมหรือชุดคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งฮาดร์แวร์และซอฟแวร์ทำงาน
                                         เทคโนโลยีการโทรคมนาคม
                  หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารทั่วไป เช่น ระบบโทรศัพท์ ระบบดาวเทียม ระบบเครื่อข่ายเคเบิล และระบบสื่อสารอื่นๆ
                                        ความสำคัญของเทคโนโลยีสื่อสารสนเทศ
-แผนพัฒนาเศษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่4
-มีการจัดตั้งศูนย์ ประสานงานและปฏิบัติงาน ของระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาขึ้น
-ในแผนพัฒนาเศษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่8
                                       ประโยชน์ของเทคดนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
1)ให้ความรู้ ทำให้เกิดความคิดและความสำเร็จ
2 )ใช้ในการวางแผนและบริหารงาน
3 )ใช้ประกอบการตัดสินใจ
4 )ใช้ในการควบคุมสถานการณ์
5 )เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ
                                                             สรุป
   การนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ประโยชน์ในทางการศึกษามีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการเผ่กระจายอย่างรวดเร็ว ของอุปกรณ์เทคโนโลยี สารสนเทศประเภทต่างๆ เช่นดาวเทียมสื่อสาร ใยแก้วนำแสง อินเทอรืเน็ต ก่อให้เกิดระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการบริหารในสถานศึกษา

                         ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการใช้งานเป็น 6แบบคือ
 1) เทคโนโลยีใช้เก็บข้อมูล เช่นดาวเทียมภาพถ่ายทางอากาศ , กล้องดิจิตอล, กล้องถ่ายวิดิทัศน์
 2 )เทคโนโลยีที่ใช้มนการบันทึกข้อมูล เป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆเช่นเทป แม่เหล็ก จานแม่เหล็ก จานแสงหรือจานเลเลเซอร์
3 )เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
4 )เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผล ข้อมูลเช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ
5 )เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำนวนเอกสาร เช่นเครื่องถ่ายเอกสาร
6 )เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูลได้แก่ ระบบคมนาคมต่างๆ
                                          ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
             มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในระบบต่างๆ ทั้งในทางธุรกิจ และทางการศึกษาเช่น
 - ระบบเอทีเอ็ม
 - การบริการและทำธุรกิจ อินเตอร์เน็ต
 - การลงทะเบียนเรียน
                                             พฤติกรรมสารสนเทศคืออะไร
          การแสดงออกทาง ความคิดความรู้สึกในการใช้รูปแบบ ของเทคโนโลยีทุกประเภทที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้างการเผยแพร่
                                               การใช้อินเทอร์เน็ต
    งานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศของนักศึกษาส่วนใหญ่ใช้เพื่อความบันเทิงนอกจากนี้งานวิจัยซึ่งชี้ว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบต่างๆ
                                               สถานที่การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ที่บ้าน
- ห้องสมุดของสถาบันต่างๆ
- ฐานข้อมูลอิเล็กเทอนิกส์ การเรียนรู้แบบอ่อนไลน์