วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหรืหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอด
หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลักคือ
1) ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูล
2) ใช้ในการเก็บข้อมูลโปรแกรมอย่าถาวร
3 ) ใช้เป็นสือในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บไว้ในความจำหลักประเภทแรม หากเปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจทำให้ข้อมูลสูยหาย จึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลมาจากหน่วยคามจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในสือที่ใช้บัญทึกภายนอกเช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ซีดีรอม ดีวีดี
ส่วนแสดงผลข้อมูล
คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้อุปกรณ์ที่ใช้แสดงข้อมูลได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ภาพ และลำโพงเป็นต้น
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
หมายถึงคนที่มีความรู้ความสามารถ ในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น
อาจประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนรับผิดชอบ
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
1) ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2 )ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3) ฝ่ายปฎิบัติงาน
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1) หัวหน้าฝ่ายงานคอมพิวเตอร์
2 )หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และว่างแผนระบบงาน
3) โปรแกรมเมอร์
4 )ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
5) พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
-นักวิเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
- โปรแกรมเมอร์
นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
- วิศวกรระบบ
ทำหน้าที่ออกแบบสร้าง ดุแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
- พนักงานปฏิบัติการ
ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับภารกิจประจำวัน
แบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ได้เป็น 4 ระบบ
1) ผู้จัดระบบ
คือผู้ว่างนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
2 )นักวิเคราะห์ระบบ
คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์ระบบงาน
3) โปรแกรมเมอร์
คือ ผู้เขียนโปรแกรมส่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4) ผู้ใช้
คือ ผู้ที่ทำงานคอมพิวเตอร์ทั่วไป จึงต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งาน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น