วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555

ซอฟแวร์ประยุกต์


    ซอฟแวร์ประยุกต์
  2.2 ซอฟแวร์ประยุกต์
                ซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งฉาก หรือการออกแบบเว็บไซต์
                                       ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น2ประเภทคือ
1) ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ( Proprietory software)
2)ซอฟแวร์ที่หาชื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะและโปรแกรมมาตราฐาน
                             แบ่งตามกลุ่มการใช้งานจำแนกได้เป็น3กลุ่มใหญ่ๆดังนี้
1) กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ
2) กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิก และมิลติมิเดีย
3) กลุ่มการใช้งานบนเว็บ
           
                               กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในการทำงานมีประสิทธิภาพมากชึ้้้้นเช่น การจัดพิมพ์เอกสาร นำเสนองาน และการบัญทึกนัดหมายต่างๆ
                              กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมิเดีย
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการด้านงานกราฟิก และมัลติมิเดียเพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่นใช้ตกแต่งวาดภาพ ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหวและการออกแบบเว็บไชต์ ตัวอย่างเช่น
 -โปรแกรมการออกแบบงาน อาทิ Microsoft yisieso Pof
 - โปรแกรมการตกแต่งภาพ  อาทิ Coreldraw,Adobe
 - โปรแกรมติดต่อวิดีโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere,Pimnacle Studio DV
 -โปรแกรมสร้ารงมัลติมิเดีย อาทิ Adobe Authorware
 -โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash Adobe
                              กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสือสาร
              เมื่อเกิดการเติบโตของเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต ซอฟแวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นการตรวจสอบเช็คอีเมล การท่องเว็บไชต์การจัดการดูแลเว็บและการส่งข้อมูลติดต่อสือสาร การประชุมทางไกลผ่านเครื่อข่าย ตัวอย่างโปรแกรมกลุ่มนี้ได้แก่
- โปรแกรมจัดการE-mail  อาทิ Microsoft Outlook
-โปรแกรมเว็บ อาทิ Microsoft
- โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer
-โปรแกรมประชุมทางไกล Videc Conterence
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน อาทิ MSN ,ICQ
                              ความจำเป็นของการใช้ซอฟแวร์
        การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์ จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษรและเป็นประโยคข้อความ
                             ซอฟแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
                 เมื่อมนุษย์เราต้องการใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่าถูกต้อง จำเป็นต้องมีสือกลางถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้วเรามีภาษาใช้ในการติดต่อกันและกัน การปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อ เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
                           ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
            ภาษาเครื่อง
            เนื่องจากคอมพิวเตอร์ ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลย0และ1ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข0และ1 นี้เป็นรหัสแทนค่าสิ่งในการส่งงานคอมพิวเตอร์รหัสแทนข้อมูลและคำสังโดยใช้ระบบฐานนี้
            ภาษาแอสเซมบลี(Assembly languages)
             เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครื่องภาษาแอสเซมบลีช่ีวยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
            แต่อย่างไรก้อตามภาษาเเอสแซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาที่เรียกว่าเบเลอร์ที่แปลภาษาเอสแซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
            ภาษาระดับสูง เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่าStatememts ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น
            คอมไมเลอร์จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมที่เป็นภาษาก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษานั้น
            อินเทอร์พรีเตอร์ ทำการแปลที่ละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้นเมื่อทำเสร็จแล้วจึงทำการแปลคำสั่ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น